The best Side of ขุนพันธ์

อ.หลวงอดุล อดุลเดชจรัส’ และต่อมาคือ ‘พล.อ.เผ่า ศรียานนท์’ เป็นอธิบดีกรมตำรวจ ภายใต้ยุคที่มีคติว่า “ภายใต้ดวงอาทิตย์นี้ไม่มีอะไรที่ตำรวจไทยทำไม่ได้”

ในภาคนี้อาคมติดตัวของขุนพันธ์ได้เสื่อมลงอันเป็นจุดจบแห่งความหนังเหนียว ที่น่าสนใจคือเนื้อเรื่องหลักส่วนนี้ยังอุปมาความเสื่อมที่ขุนพันธ์สัมผัสได้จากเลือดเนื้อของตนเองไปถึงเครื่องแบบตำรวจ จากที่เคยเชื่อว่าตนเองเป็นความยุติธรรมปราบเสือ สู่การมองเห็นตนเองในฐานะ เครื่องจักรสังหาร ที่อนุมัติใบสั่งฆ่าโดยรัฐอย่างถูกกฎหมาย หนำซ้ำยังช่วยระบบกดขี่การเรียกร้องประชาชนอย่างไม่ได้ตั้งใจ พอรู้ความจริงอีกแบบจึงกระทบต่อศรัทธาในเครื่องแบบของตน เครื่องแบบในฐานะความเชื่อของขุนพันธ์จึงเสื่อมไปด้วย จนไปถึงขุนพันธ์หันกลับไปถือสัจจะข้างโจรพิทักษ์ชุมเสือจากกำลังส่วนกลาง ความเสื่อมทั้งร่างกายและความเชื่อของขุนพันธ์ได้สรุปในภาพยนตร์จนถึงฉากสุดท้ายที่ขุนพันธ์เองกำลังจะเดินไปหาเสียงปืนปริศนาด้วยชุดธรรมดาไม่มีเครื่องแบบตำรวจอีกต่อไป รวมถึงเขาเองก็ไม่มีอาคมคงกระพันอีกต่อไปเช่นกัน

“ขุนพันธ์” เป็นภาพยนต์ที่จะเล่าเรื่องราวชีวประวัติของ “ขุนพันธรักษ์ราชเดช” (อนันดา เอเวอริ่งแฮม) นายตำรวจผู้ยึดมั่นในความยุติธรรมอย่างแรงกล้า ยอมหัก ไม่ยอมงอ เขาปราบพวกโจรเสือร้ายตามภูมิภาคต่างๆของประเทศ โดยได้ฉายาว่า “นายพลตำรวจหนังเหนียวผู้จับเสือมือเปล่า” หรือ “ขุนพันธ์ ดาบแดง” (ซึ่งเป็นดาบที่เชื่อว่าตกทอดมาจากพระยาพิชัยดาบหัก) รวมถึงวีรกรรมที่ปราบเสือดังในภาคกลางอย่าง เสือดำ เสือมเหศวร เสือใบ เสือฝ้าย ฯลฯ และวีรกรรมที่โดดเด่นจนกลายเป็นตำนานอันลือลั่น ก็คือช่วงที่ขุนพันธรักษ์ราชเดช ได้ลงมารับราชการที่กองบังคับการตำรวจภูธรมณฑลนครศรีธรรมราช ประจำจังหวัดสงขลา และได้ต่อสู้กับมหาโจร “อัลฮาวียะลู” (กฤษดา สุโกศล แคลปป์) ขุนโจรชาวมุสลิม ผู้ที่หวังจะแยกแผ่นดิน ซึ่งเป็นผู้ที่เชี่ยวชาญด้านไสยศาสตร์ มนต์ดำสายมอญ ผู้มีสันดานโจรใจคอโหดร้าย ออกไล่ปล้นฆ่าชาวพุทธด้วยความโหดเหี้ยมพิสดาร

งานของอาจารย์สมเกียรติ (สมเกียรติ วันทะนะ) เรื่อง “วิเคราะห์ “เสือใบ-เสือดำ” วีรบุรุษคนยากของ ป. อินทรปาลิต” เสนอว่า เสือเป็น ‘วีรบุรุษของประชาชน’ แต่มิได้มีแผนการที่จะนำไปสู่สังคมที่ดีกว่าที่เป็นอยู่ เสือเป็นรูปแบบการเอาตัวรอดและช่วงชิงผลประโยชน์เฉพาะหน้า 

คำว่า เสือที่ปรากฏเป็นคำนำหน้าชื่อหรือฉายาแก่บุคคลนั้น ไม่ใช่คำในเชิงลบร้าย  เพราะเสือแม้จะดุร้ายแต่ก็มีภาพลักษณ์ความสง่างาม แข็งแกร่ง ทรงพลัง และมีเกียรติอยู่โดยนัย 

ลักษณะเด่นของ ‘ขบถผู้มีบุญ’ จะเป็นเรื่องการอ้างอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ของผู้นำ  ซึ่งการอ้างอย่างนี้มีในหมู่ชนชั้นสูงอยู่ก่อนแล้ว  ความเป็นระบบระเบียบมีขื่อแปของสังคมในส่วนนี้จะหมายถึงการห้ามไม่ให้ประชาชนคนธรรมดาทั่วไปสามารถอ้างกฤดาภินิหารได้ ชนชั้นปกครองอ้างได้ฝ่ายเดียว ‘ขบถผู้มีบุญ’ มีความแมสและเปิดเผยกว่า ‘เสือ’ จึงง่ายที่จะถูกนำกำลังเข้าปราบปราม  เสือมีความยืนหยุ่นกว่า  เพราะมักจะพัฒนามาจาก ‘นักเลง’

ดังที่มีภาษิตว่า 'ชาติเสือไว้ลาย' ในแง่นี้เสือกับความเป็นชายที่สมบูรณ์แบบนั้นเป็นเรื่องเดียวกัน  ความดุร้ายบางทีก็สะท้อนอำนาจบารมี ซึ่งสำหรับในหลายวัฒนธรรมของอุษาคเนย์เป็นสิ่งที่จะสามารถบันดาลให้โชคลาภและยศวาสนาแก่ผู้ที่อ่อนแอไม่มีสิทธิไม่มีเสียงได้ แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นผู้ที่ต้องระมัดระวังเวลาอยู่ใกล้ ดังมีภาษิตว่า “นายรักเหมือนเสือกอด” เสือกับเจ้านายดูเหมือนจะถูกเทียบเคียงความคล้ายคลึงกันอยู่โดยนัย

ดังนั้น จึงเป็นเรื่องน่าเสียดายเหลือเกิน หากว่าระบบผูกขาดและโรงหนังยังมีอิทธิพลในการจัดรอบฉายหนังตามอำเภอในเช่นนี้อยู่ เพราะมันย่อมปฏิเสธไม่ได้ว่า นี่คือหนึ่งในการขัดแข้งขาและเหนี่ยวรั้งศักยภาพของหนังไทย จนทำให้หนังหลายต่อหลายเรื่องไปได้ไม่ไกลเท่าที่ควร

ฟังยาก เสียงไม่ตรงกับวิดีโอ หรือ ขาดบางส่วน

undefined will not be seen to you including posts, replies, and images. Even so, that information and facts will nevertheless be included in specifics for example quantities of replies.

 เหตุใดคนใต้จึงไปยกย่องคนที่ไปฆ่าพี่น้องของตนเองถึงในถิ่นของพวกเขาเช่นนั้น ไม่ใช่ประเด็นสำหรับในที่นี้    

บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้

สำหรับภาพยนตร์โดย ก้องเกียรติ โขมศิริ ดูที่ ขุนพันธ์

แต่ผู้นำตำรวจเวลานั้นคือ here ‘หลวงอดุล อดุลเดชจรัส’ ไม่ใช่คนหูเบา ไม่เชื่อว่าลูกน้องของตนเป็นคนไม่ดี ขุนพันธ์จึงไม่เพียงรอดจากการเมืองครั้งนั้นมาได้  ยังมีลาภยศวาสนามากขึ้นกว่าเดิมไปอีก  จากการที่ได้รับความไว้วางใจให้ย้ายไปปราบเสือที่ต่างๆ จนได้รับสมญา ‘มือปราบเสือ’

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *